จักรวาล

หลุมดำ

“ทฤษฏีสัมพันธภาพชองไอน์สไตน์เป็นเพียงทฤษฏีแรกเริ่ม”

นักยูทูบ Doktor Whatson คุยกับผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ Reinhard Genzel เกี่ยวกับไอน์สไตน์ หลุมดำและความกล้าเสี่ยง
 

ภาพยนตร์อินเตอร์สเตลลาร์

หลุมดำ เอกพจน์ มิติที่ 5?

หลุมดำ เอกพจน์ มิติที่ 5? นักยูทูบ Doktor Whatson พูดคุยกับดร. Silke Britzen (สถาบันวิจัยด้านวิทยุดาราศาสตร์ สถาบัน Max Planck) และดร. Frank Ohme (สถาบันวิจัยด้านการโน้มถ่วงฟิสิกส์ สถาบัน Max Planck) เกี่ยวกับความเป็นไปได้ของการกระทำและฉากแต่ละฉากในภาพยนตร์

จักรวาลมีจิตสำนึกของตัวเองหรือไม่

จักรวาลมีจิตสำนึกของตัวเองหรือไม่

ปรากฏการณ์ต่างๆ ในจักรวาลเกิดขึ้นตามกฏธรรมชาติหรือแท้จริงแล้วเกิดขึ้นตามกฏของตัวเองหรือจิตสำนึกที่คอยควบคุมบงการทุกอย่างเบื้องหลังหรือไม่ เราสามารถเรียนรู้อะไรจากการเคลื่อนไหวของหมู่ดาว Harald Lesch จะพาเราไปท่องโลกของเมต้าฟิสิกส์
 

ประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติ

การโยกย้ายถื่นฐาน - พวกเราชาวยุโรปมาจากที่ไหนกันแน่

การโยกย้ายถื่นฐาน - พวกเราชาวยุโรปมาจากที่ไหนกันแน่

ตัวเธอเองมีต้นกำเนิดมาจากไหน ในวีดีโอดังกล่าว MrWissen2go และ Johannes Krause จากสถาบันวิจัยประวัติศาสตร์มนุษย์ศาสตร์ สถาบัน Max Planck จะแสดงให้เราเห็นว่า มีการเข้ามาตั้งรกรากปักฐานในทวีปยุโรปเป็นจำนวนหลายระลอก ทำให้เหล่านักวิทยาศาสตร์ได้ข้อสรุปว่า พวกเราทุกคนคือผู้โยกย้ายถิ่นฐาน

Svante Pääbo

ผู้บุกเบิกแห่งการศึกษายีนยุคดึกดำบรรพ์ ภาพของ Svante Pääbo นักวิจัยสถาบัน Max Planck

ในวันที่ 7 กันยายน 2018 ผู้อำนวยการ Svante Pääbo จากสถาบันสถาบันวิจัยด้านวิวัฒนาการมานุษยวิทยา สถาบัน Max Planck ในเมืองไลป์ซิก ได้รับรางวัลเคอร์แบร์ (Körber-Preis) สำหรับงานวิจัยบุกเบิกในด้านวิชาศึกษายีนยุคดึกดำบรรพ์ ซึ่งถือเป็นผู้ก่อตั้งการวิจัยในสาขาดังกล่าว

เราเรียกตัวเองว่ามนุษย์ได้อย่างไร Mirko Drotschmann & Harald Lesch

เราเรียกตัวเองว่ามนุษย์ได้อย่างไร

มนุษย์อาศัยอยู่บนโลกมาประมาณกว่า 300,000 ปีมาแล้ว แต่เกิดอะไรขึ้นระหว่างนั้นจนมาถึงวันที่เราเป็นอยู่ในทุกวันนี้

สมัยที่มนุษย์ครองโลก

วิศวกรรมทางธรณี

แผนสองในการลดภาวะโลกร้อน วิศวกรรมทางธรณี

วิศวกรรมทางธรณีหรือวิศวกรรมทางภูมิอากาศเป็นศาสตร์ที่ใช้เทคโนโลยีมาช่วยลดผลกระทบของสารที่ทำให้เกิดโลกร้อน แต่นี่ถือเป็นไอเดียที่ดีหรือไม่ วิธีเป็นวิธีที่เกิดขึ้นจริงแล้วในปัจจุบัน ใครเห็นด้วยและใครไม่เห็นด้วย
 

ไฟไหม้ป่าในป่าอเมซอน

ไฟไหม้ป่าในป่าอเมซอน

เกิดไฟไหม้ป่าครั้งใหญ่ขึ้นทุกปีในแถบพื้นที่อเมซอน ซึ่งหลายครั้งเกิดมีคนต้องการเผาป่าเอง วิกฤตการณ์โลกร้อนและการทำลายป่าในอดีตก่อยิ่งทำให้สถานการณ์แย่ลงไปอีก โดยความเพิกเฉยของนักการเมืองและพฤติกรรมของผู้บริโภคมีส่วนสำคัญในการทำลายป่าดงดิบดังกล่าว สถานการณ์ในแถบพื้นที่อเมซอนมีความคืบหน้าอย่างไรในช่วงไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา
 

การวิจัยชั้นดินเยือกแข็งคงตัวในขั้วโลกเหนือ

การวิจัยชั้นดินเยือกแข็งคงตัวในขั้วโลกเหนือ

วิกฤตการณ์โลกร้อนทำให้ขั้วโลกใต้มีอุณหภูมิสูงขึ้น ซึ่งจะมีผลอย่างไรต่อก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ นักวิจัย Friedemann Reum และ Mathias Göckede จากสถาบันวิจัยด้านชีวธรณีเคมีวิทยา สถาบัน Max Planck ทำการตรวจสอบความหนาแน่นของก๊าซเรือนกระจกในอากาศที่สถานที่จริง ซึ่งก็คือในเขตชนบท Ambarchik ทางชายฝั่งไซบีเรียในทะเลขั้วโลกเหนือ โดยจะนำข้อมูลที่ได้มาคำนวณว่า สารคาร์บอนไอออกไซด์และมีเทนไหลออกจากชั้นดินเยือกแข็งคงตัวเข้าสู่ชั้นบรรยากาศในปริมาณเท่าใด
 

สมอง

อาการซินเอสเทเซียทำให้เราฟังสีสันและลิ้มรสเสียงเพลง

อาการซินเอสเทเซียทำให้เราฟังสีสันและลิ้มรสเสียงเพลง

ลองจินตนาดูว่า หากเห็นดนตรีเป็นสีสัน - หากมีการเล่นดนตรีเพลงใดเพลงหนึ่ง เราจะเห็นทุกอย่างเป็นเพียงสีเหลืองและสีแดง วันอาทิตย์มีรสเหมือนสตรอเบอรี่ และหากใครพูดคำว่า “โคลน” ขึ้นมา เราจะรู้สึกเย็น อาจจะฟังดูหลุดโลกใช่ไหม แต่ผู้คนหลายคนสัมผัสและมองโลกในแบบที่ต่างออกไปจริงๆ เราเรียกว่า คนที่มีสัมผัสพิเศษซินเนสเทเซีย (synesthesia)
 

การผลักดัน

การผลักดันเป็นเสมือนการปั่นหัวหรือไม่

มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่สมบูรณ์แบบและชอบทำอะไรตามใจชอบ ทำให้นักการเมืองบางคนต้องการเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าว โดยเฉพาะพฤติกรรมที่ทำลายสุขภาพหรือสภาพแวดล้อม ซึ่งรัฐบาลต้องเป็นคนจ่ายเงินชดเชยดังกล่าว การผลักดันหรือ nudging หมายถึงความพยายามเปลี่ยนพฤติกรรมคนให้ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งโดยปราศจากเงื่อนไขหรือข้อห้ามที่ชัดเจน ให้ผู้คนหันมาสนใจกระทำการอื่นที่น่าสนใจกว่า โดยประเด็นหลักในบริบทดังกล่าวคือเรื่องของการบริจาคอวัยวะ
 

ความยืดหยุ่นของจุดประสานประสาท - การเรียนรู้ของสมอง

ความยืดหยุ่นของจุดประสานประสาท - การเรียนรู้ของสมอง

จุดประสานประสาทไม่เพียงแต่เป็นตัวส่งสัญญาณไฟฟ้าจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปอีกเซลล์ประสาทหนึ่ง หากแต่ยังสามารถเพิ่มหรือลดความเข้มข้นของสัญญาณดังกล่าวได้ด้วย ความยืดหยุ่นของจุดประสานประสาทดังกล่าวถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้และการจดจำ
 

ปัญญาประดิษฐ์

ปัญญาประดิษฐ์

เรื่องที่ 1 - เข้าใจปัญญาประดิษฐ์อย่างแท้จริง

ปัญญาประดิษฐ์เป็นหัวข้อที่กว้างมาก ทีมงานของ Doktor Whatson ได้ร่วมมือกับสถาบันวิจัยระบบอัจฉริยะ สถาบัน Max Planck เพื่อสร้างวีดีโอซีรี่ส์ในหัวข้อ “ปัญญาประดิษฐ์” และนี่คือเรื่องที่ 1
 

การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ - ปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร

การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ - ปัญญาประดิษฐ์เปลี่ยนการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร

Ranga Yogeshwar ได้เดินทางไปตามพื้นที่การวิจัยสำคัญต่างๆ ในด้านของปัญญาประดิษฐ์ทั้งในยุโรป สหรัฐอเมริกาและประเทศจีน แล้วมันมีผลอย่างไรต่อชีวิตเรา ปัญญาประดิษฐ์จะเปลี่ยนโลกการทำงานและการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร
 

อธิบายปัญญาประดิษฐ์ใน 5 นาที

อธิบายปัญญาประดิษฐ์ใน 5 นาที

ในวิดีโออธิบายที่เราเลือก เราจะเข้าใจว่าปัญญาประดิษฐ์หรือที่เรียกว่าเอไอคืออะไร youknow เป็นหนึ่งในผู้จัดทำวิดีโออธิบายและเป็นแพล็ตฟอร์ม E-Learning เพื่อหาคำตอบต่างๆ ในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาเยอรมันเป็นหลัก

Dachgeflüster

„Aber, wo hinein dehnt es sich aus? Was ist außerhalb des Universums?“ Timos Gehirn erlebt seinen eigenen privaten Urknall, als Lara ihm zwei aktuelle Theorien zur Entstehung des Universums erklärt.

Dachgeflüster, Episode 1: Urknall


„Aber, wo hinein dehnt es sich aus? Was ist außerhalb des Universums?“ Timos Gehirn erlebt seinen eigenen privaten Urknall, als Lara ihm zwei aktuelle Theorien zur Entstehung des Universums erklärt.
 

Dachgeflüster, Episode 2: Aufrechter Mensch

Dachgeflüster, Episode 2: Aufrechter Mensch

„Moment mal….mag keine Veränderungen, interessiert sich nicht für neues Zeug, beschmiert gerne Wände. Kann es sein, dass ich ein Neandertaler bin?“ Timo denkt über einige der unbeantwortbaren (und eine der ziemlich leicht beantwortbaren) Fragen zur menschlichen Entwicklung nach.
 

Dachgeflüster, Episode 3: Gehirn

Dachgeflüster, Episode 3: Gehirn

„Es scheint da oben lauter Hippos zu geben.“ Diese Folge ist für alle, die wie Timo denken, dass ein "Hippocampus" eine Universität für Miniatur-Nilpferde sein könnte. Ein Gespräch mit Lara gibt dem Gehirn des jungen Mannes einen flüchtigen, verwirrenden Einblick in seine eigene Brillanz.
 

Dachgeflüster, Episode 4: Künstliche Intelligenz

Dachgeflüster, Episode 4: Künstliche Intelligenz

Glaubst du, wir kommen an einen Punkt, an dem die künstliche Intelligenz die Macht erkennt, die wir ihr gegeben haben, und beschließt, uns zu versklaven? Timo und Lara denken über die Grenzen zwischen menschlicher und künstlicher Intelligenz nach – Grenzen, die man verschieben kann, andere, über die man entscheiden muss, und einige, die niemals überschritten werden können.

 

Dachgeflüster, Episode 5: Anthropozän

Dachgeflüster, Episode 5: Anthropozän

„Glaubst du wirklich, dass wir kurz vor dem Ende stehen?“ Lara und Timo stellen sich der ernüchternden Realität der Auswirkungen des Menschen auf unseren Planeten und fragen sich, was sie tun können, um ihn in eine bessere Zukunft zu führen.